วันอังคารที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บ้านคูคต




18ก.ค61เวชชัยถ่ายรูปนี้


ตัวอยู่วัดป่าศรีหนองนา


อย่างนี้ก็อยู่มาแล้ว








นกกะยางที่นี่เยอะ กลุ่มนี้เกาะที่รั้วทางไปโลตัส
24ต.ค59 หายไปไหนหมด แต่ไปเห็นที่วัดป่าศรีหนองนา บินข้ามหลังคากุฏิเป็นฝูงเกือบ30ตัว น่าดูมาก 
7พย59 เห็นสัก20ตัว บินข้ามทุ่งนาข้าวด้านหลังครัว ช่วงนี้กำลังเกี่ยวข้าว

26 ต.ค. 58 ทากเยอะไปหมดข้างกำแพงบ้านด้านตะวันตก คงจะเป็นฤดูฝน
จ.24 ต.ค 59 ทากมาอีกแล้ว ที่เดิม แต่น้อยกว่าปีที่แล้ว

29 ก.ย.58 ยุงอาละวาด

19 มิ.ย.58 17.45น.


13 มี.ค.2558




อา. 21 06 58 กรรมมีผลทุกเม็ด  ดอกทานตะวันถูกเด็กตัดตรงกับ ไปฟังธรรมหลวงพ่อปราโมทย์ที่ศาลาลุงชินโรงทานมีโจ๊กให้ผู้มาทำบุญ กำลังกังวลว่าจะกินข้าวเช้ายังไง สาธุ


10 06 2558

10 06 58

 10 06 58




25 03 58 ต้องลากนวล หูกางขึ้นบันไดทุลักทุเล

25 03 58ที่ครอบไฟบันไดหน้าตกลงมาที่ประตูกั้นบ้านป้า

25 03 58ผ้าของหมาใต้บันไดหน้าฝนสาดเปียกหมด
ฝนสาดที่บานเกร็ดหน้าต่างห้องตุ้ม

แม่นกเขากกลูกฝ่าพายุลมแรง ไม่ยอมให้มีอันตราย
เหตุการณ์ผ่านไป สงบเหมือนไม่มีอะไรเกิด มันเป็นเช่นนั้น เกิด-ดับ

25 03 58 พายุฟ้าคนองสาดทุกด้านเป็นครั้งแรกที่ประสบ


20 01 2558


19 01 2558


12 01 2558 ติดต่อการประปาส่วนภูมิภาคสาขารังสิต


06 01 2558

ราคาบ้านจัดสรรใกล้บ้านคูคตเมื่อมีโครงการรถไฟฟ้า
เริ่มต้น 8.9 ล้านบาท

เริ่มต้น4.5ล้านบาท

แต่ยังแพ้บ้านจัดสรรถนนราชพฤกษ์ 150 ล้านบาท



บ้านคูคตเมื่อมีคนเข้าไปอยู่อาศัย


เริ่มมีสิ่งมีชีวิตมาอยู่ด้วยกัน

เก็บของจากบ้านพักม.ราชภัฏสุรินทร์
เตรียมขนไปบ้านคูคต



 

เริ่ม 24 12 2557 ทาสีตู้เตียงที่จะเอาไป หนังสือ เสื้อผ้าเอาใส่กล่อง





ด้านต้นมะม่วง เห็นแล้วท้อเพราะเศษวัสดุปนเป ดินไม่พร้อมจะปลูกเลย


บันไดหลัง มีเสียงคนอื่นว่าไม่น่าสร้าง แตาเราระบุว่าขยะไง จะต้องไม่ขนขยะผ่านด้านหน้าของบ้าน ตอนนี้กลายเป็นทางเดินที่ใช้มากที่สุด






















ระเบียงติดห้องนอนเรา ใช้วางเครื่องซักผ้า


 ด้านหน้า


 
ระเบียงด้านหน้าก่อนเข้าไปด้านในบ้าน


บันไดหน้า มีหลังคาและที่พักบันได เดินบันไดนี้จึงไม่เหนื่อยเหมือนบันไดหลัง
















19 12 57 ความก้าวหน้าของการสร้างบ้าน


19 12 57 ขับแลนเซอร์ไปบ้านป้าตุ๋ย



ต้นส้มเขียวหวานเพาะจากเมล็ด ให้ลูก2-3 ครั้งรสชาดดี แต่เอามาด้วยไม่ได้

แลนเซอร์ทองวิ่งไปบ้านคูคต








ฝรั่งพาลูกมาดูรถ
พุทราซื้อที่ปั๋มแยกโชคชัย

ขับตามหลังรถขนวัวควาย               ลำตะคอง                                         ทางลาดชันลำตะคอง




เข้าทางด่วนกาญจนาภิเศก ขับยาวไปลงแยกบิ๊กซีคลอง 6 เลี้ยวขวา









21 11 57 รวมรูปความก้าวหน้าก่อสร้าง














ไม่ใช่สีฟ้า กล้องถ่ายสีเพี้ยน เป็นจริงคือขาว






เลอะไม่น่าดูเลย




ห้องใหญ่สุด ใช้เป็นห้องนอนเวชชัย รับแขก เล่นคอม พักผ่อน สาระพัดประโยชน์


ห้องนอนเบ๋ว เก็บของ ติดต้นมะม่วงป้าตุ๋ย




ห้องน้ำใหญ่สุด กว้างขวาง สบาย


ห้องนอนเรา



ห้องน้ำห้องเรา


ไปบันไดหลังผ่านครัว


ห้องเล็กสุด ตามแบบเป็นห้องพระ แต่ตอนนี้ว่าง







ครัว เป็นห้องที่ใช้มาก สบายๆของบ้าน 24 ต.ต59 เป็นห้องนอนหูกาง บางครั้งมดดำมาแจม





จากระเบียงบัไดหลังถ่ายไปหน้าต่างครัว






08.04.57 งวดที่4 ผู้รับเหมางวดที่1  470,000 บาท

เสาเอก








23.พย.56 งวดที่3 จ่ายค่าถมที่ดินงวดที่2,85,000 ค่าโอน105 รวมค่าถมดินทั้งหมด2งวด  95,105 บาท
22พย56 งวดที2จ่ายค่าถมที่ดินงวดที่1,10,000
21.10.56 งวดที่1ที่ดินที่โอนโฉนดแล้ว เป็นค่าที่ดิน ค่าโอน ค่าเดินทาง ค่าใช้จ่ายในการเดินทางและอื่นๆ รวม 1,108,504 บาท
8/ศ.18-ส.19ตค.56ไปวัดป่าศรีหนองนา หลังล้างพิษตับครั้งที่3ส.24-จ.26สค.56 
ส.19ตค.56 ~09:00กราบหลวงปู่กลับสร.เพื่อมาที่ว่าการอ.เมือง คัดสำเนาทะเบียนบ้านเป็นเล่ม เพราะหาไม่เจอ ถึงสร.~11:30 เจ้าหน้าที่คัดให้เสร็จ~12:00 ใช้เวลาเร็วมาก ถ้าวันปกติจะมีคนเยอะต้องรอ แต่งันนี้เจ้าหน้าที่ทำให้ตาคนเดียว ด้วยเหตุผลว่าจะเอาไปกทม. แต่หัวหน้าไม่อยู่เพิ่งออกไป ซึ่งต้องเซ็นชื่อ เจ้าหน้าที่โทรตาม หัวหน้าไปเดินตลาดเขียว ให้เซ็นได้สำเร็จ ค่าคัด20บาท ค่าปก20บาท
เรา:ไม่ใช่บังเอิญ เพราะช่วงอยู่วัดหลวงปู่พูดเรื่องโฉนดที่ดิน ให้ตรวจสอบว่าถูกต้องไหม จำนองไหม ที่ดินในแผนที่กับโฉนด ใช่ที่เดียวกันไหม
20-23ตค.56 ตาไปกลับกทม.814บาท
ค่าใช้จ่ายตาช่วงอยู่กทม. 4,000 
ค่าถอนเงินค่าที่ดินจากธนาคาร 1,100
ค่าส่งใบสมรสทางรถไฟ 100 ค่ารับใบสมรส20
ค่าที่ดิน 1,050,000 ค่าที่ดิน+ภาษี 52,470
รวมค่าที่ดินและค่าดำเนินการ 1,108,504บาท
เงินที่ใช้จากเงินเกษียรตา
สหกรณ์ให้ผู้เกษียร 17,000
กบข 919,197.57
บำเหน็จดำรงชีพ 200,000 รวม1,136,197.57บาท



รูป1-4ที่ดินก่อนสร้างบ้านหาจากกูเกิลแม็ป
1

2

3

4



รุปถ่ายเองจากที่ดินจริง


 








ค้นหาความรู้ การสร้างบ้านจากเน็ต




         ถ้าเรามีพื้นที่มากพอ ทีกำลังทรัพย์เพียงพอ จะสร้างบ้านเลิศหรูวิหริศมาหราอย่างไรก็ได้ แต่ถ้าเราติดขัดอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้ง 2 อย่าง ก็ควรคำนึงถึงปัจจัยจำเป็นหรือแนวทางหลักๆ ในการเลือกแบบบ้านให้ถูกใจและตรงกับความต้องการด้วย น่ำจะดีไม่น้อย แล้วในการเลือกแบบบ้านเราควรพิจารณาอะไรบ้าง
         เรื่องน่ารู้หรือข้อควรพิจารณาในการเลือกแบบบ้านเพื่อสร้างบ้านให้ถูกใจและถูกวัตถุประสงค์ ความจริงไม่ใช่เรื่องลึกลับหรือต้องใช้ศาสตร์และศิลป์อะไรมากมาย เราเองก็สามารถเป็นผู้กำหนดโครงสร้างบ้านของเราเอง โดยมีข้อพิจารณาที่ไม่ควรละเลย ดังนี้
1 ขนาดพื้นที่ใช้สอย อาจจะถือได้ว่าเป็นเรื่องสำคัญที่สุด เช่นมีห้องนอนกี่ห้อง มีห้องครัว ห้องน้ำ ห้องรับแขก ห้องคนใช้ โรงจอดรถ ห้องคนรับใช้ พื้นที่สำหรับสัตว์เลี้ยง ตำแหน่งการจัดสวน บ่อปลา ฯลฯ เขียนความต้องการของตัวเราให้ครบก่อน อย่าลืมว่า ยิ่งความต้องการมากเท่าไร ค่าใช้จ่ายของบ้านก็มากทวีขึ้นไป แต่การวางแผนอย่างรอบคอบล่วงหน้า ก็จะลดปัญหาการต่อเติมบ้านจนเสียความสวยงามทีหลัง เมื่อได้ความต้องการที่ลงตัว ก็ลองหาแปลนที่ถูกใจ หรือวาดเล่นๆ ขึ้นมาก้ได้

2 ทิศทางการวางบ้าน เรื่องนี้ไม่ควรละเลย บ้านเราเป็นเมืองร้อน อยู่ในเขตเหนือเส้นศูนย์สูตร ทิศใต้และทิศตะวันตกจึงรับความร้อนมากกว่าทิศตะวันออกและทิศเหนือ ตัวอย่างเช่น ถ้าเอาห้องนอนไว้ทางทิศตะวันตกซึ่งเป็นทิศที่รับแดดร้อนช่วงบ่าย เวลาเราเข้าไปในห้อง ความร้อนที่สมอยู่ในห้องก็จะทำให้เราอึดอัด หรือต้องใช้พลังงานในการปรับอุณหภูมิห้องให้เย็นลงมากกว่าห้องที่อยู่ทางทิศอื่น หรือทิศทางลมก็เช่นกัน บ้านเรามีแนวลมหลักอยู่ 2 ทิศ คือลมตะวันตกเฉียงใต้ และลมตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนั้นถ้าเราวางแนวช่องรับลม จำพวกหน้าต่าง , ประตู หรือ ช่องรับลม ในแนวทิศทางลม ก็จะทำให้ลมพัดระบายอากาศให้อากาศหมุนเวียนในบ้านได้ดี ลดการใช้พลังงานได้เป็นอย่างมาก

3 ประหยัดพลังงาน ถ้าเราวางแผนเรื่องทิศทางลม ช่องรับแสง การเลือกใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟ การออกแบบหลังคาและการระบายอากาศภายในบ้าน การออกแบบให้บังความร้อนจากไอแดดช่วงบ่าย สิ่งเหล่านี้จะลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพลังงานที่ต้องใช้ภายในบ้านได้มากทีเดียว

4 ดูแลรักษาง่าย โครงสร้างบ้านที่ดี ไม่ควรใหญ่โตเกินไป เพราะยิ่งใหญ่มากเท่าไรการดูแลรักษาก็มากขึ้นเท่านั้น นอกจากนั้นบ้านที่ใหญ่โตมากเกินกว่าคนที่อาศัยอยู่ในบ้าน ยังทำให้บ้านดูเงียบเหงาวังเวงไปด้วย บ้านที่มีเหลี่ยมมุมมากก็จะดูแลยาก ขั้นตอนการก่อสร้างก็ยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างก็ต้องเพิ่มมากขึ้นเป็นธรรมดา นอกจากนี้เหลี่ยมมุมต่างๆ ก็มักจะเป็นจุดปัญหาของการรั่วซึมและเป็นมุมอับหรือชื้น ดูและยากอีกด้วย ดังนั้นการออกแบบบ้านที่พอดีๆ นอกจากจะทำให้บ้านดูเป็นบ้านที่อบอุ่นแล้ว ยังดูแลรักษาง่ายในระยะยาวอีกด้วย


         จะสร้างบ้านทั้งที จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของช่างก่อสร้างทั้งหมดในการเลือกวัสดุสร้างบ้านก็ใช่ที่ เพราะช่างสร้างบ้านให้แล้วเสร็จ ก็จบกันไป แต่เราซิต้องอยู่กับบ้านของเราแทบจะตลอดชีวิต ดังนั้นจะสร้างบ้านทั้งที ก็ควรศึกษาวัสดุสร้างบ้านให้พอรู้พอเข้าใจบ้าง ซักเล็กน้อยก็ยังดี อย่างน้อยก้จะได้เลือกได้ตัดสินใจว่า วัสดุอะไร แบบไหนดีที่สุดสำหรับเรา
รู้จักอิฐมวลเบา มีลักษณะเหมือนคอนกรีตธรรมดาทั่วไป แต่มีความแข็งแรงทนทานมากกว่า น้ำหนักเบา อ่านต่อ
ความแตกต่างข้อดีข้อเสีย ระหว่างอิฐมวลเบาและอิฐแดงหรืออิฐมอญ อ่านต่อ
ไม้พื้นวีว่า เป็นวัสดุที่นิยมใช้ทำพื้นบ้านมากขึ้น โดยเฉพาะบ้านที่ต้องการควบคุมราคาก่อสร้างให้ไม่สูงมากนัก ติดตั้งง่าย มีคุณสมบัติที่โดดเด่นคือ แข็งแรง ทนทานต่อ

กฏหมายก่อสร้าง ขออนุญาต



วัสดุก่อสร้างเป็นที่นิยม


หลักการณ์คิดจำนวนอิฐมอญ ?

  1. ตรวจสอบดูว่าพื้นที่ส่วนใดต้องการจะก่ออิฐบ้าง
  2. ตรวจสอบดูว่าแบบที่มีก่ออิฐแบบไหนเช่น แบบครึ่งก้อน หรือ แบบเต็มก้อน
  3. คิดพื้นที่ทั้งหมดที่ใช้ในการก่ออิฐ จากนั้นลบพื้นที่ ประตู – หน้าต่างออก
  4. พื้นที่ก่ออิฐ คูณ ด้วย 125 ต่อ ตารางเมตร ( หากก่ออิฐเต็มแผ่นให้คูณด้วย 2 ตามจำนวนพื้นที่ก่อ )




แนะนำว่าเวลาคุยกับช่างให้เขียนเป็นแผนภาพแล้วเขียนกำกับไว้ด้วยนะครับว่าต้องการให้ช่างเค้าทำอะไร

จะช่วยให้คุยกันรู้เรื่องมากขึ้น เวลาตามงาน จะได้สะดวกทั้งเราและช่างครับ



ต่อไปก็เป็นงานหลังคากับก่ออิฐ

จากนั้นประมาณ 2 เดือนครับ กว่างานฉาบโครงสร้าง งานไฟฟ้า ประปาจึงเรียบร้อย ระหว่างนี้ เราก็ไปชอปปิ้ง อุปกรณ์ไฟฟ้า โคมไฟ จุ๊กจิ๊กๆ มาเก็บไว้รอได้แล้วครับ จากนั้นงานสีภายนอกกับงานภายใน


อยากแนะนำทุกท่านเผื่อเงินสำรองไว้ด้วยนะครับ อย่าให้ตึงเกินไป ไม่งั้นเครียดครับ เวลาสร้างบ้านจะมีเรื่อง surprise ให้เราเสมอครับ เช่น ปูพื้นหลังบ้านต่อถังเก็บน้ำกับปั๊มน้ำ

10. รวมเวลาก่อสร้างตั้งแต่ ต.ค.55 - ก.ค. 56 ประมาณ 9 เดือนกว่าๆ

11.แบบบ้านใต้ถุนสูง BP17 สร้างเสร็จที่ จ.ปทุมธานี










7

















13. เป็นอยู่คือ - บ้านไทยใครอยู่ 24Mar12


14. ปัญหาการจ้างช่าง ช่างหนี ไม่ได้ทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรแต่เป็นสัญญาใจเพราะช่างที่รู้จักกัน 
























อยากจะมีถังเก็บน้ำในบ้านคุณทราบไหมว่าจะต้องมีขนาดเท่าไร ??


แบบบ้าน 1 ชุดประกอบด้วยอะไรบ้าง




ในวันโอน มีรายการที่จะต้องเสียดังต่อไปนี้

  • ค่าธรรมเนียมการโอน 2% ของราคาประเมินหรือราคาขาย ราคาไหนสูงกว่าก็ใช้ราคานั้นคิด 
  • ค่าอากร 0.5% ของราคาซื้อขาย แต่ไม่ต่ำกว่าราคาประเมิน ถ้าต่ำกว่าให้ใช้ราคาประเมินคำนวณ
  • ค่าภาษี ธุรกิจเฉพาะ 3.3% ของราคาขาย ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ นี้ จะคิดกับอสังหาริมทรัพย์ที่ซื้อมาแล้วขายออกไปภายในเวลา ไม่เกิน 5ปี (หากมีการย้ายทะเบียนบ้านเจ้าบ้านเข้าอยู่ เกินกว่า 1 ปี ได้รับยกเว้นค่าภาษีนี้) ทรัพยสินที่เสียค่าภาษีธุรกิจเฉพาะนี้แล้ว ไม่ต้องเสียค่าอากรในข้อ2 
  • ค่าภาษีเงินได้ (ภงด.) มีการคิดแบบ ขั้นบันไดภาษี หักค่าใช้จ่ายต่าง ๆตามจำนวนปีถือครอง (หลายขั้นตอน)
  • ค่าจดจำนอง หากบ้าน หรือที่ดิน ที่ซื้อขายกันมิได้ซื้อสด จำนองต่อกับธนาคาร จะเสียค่าจำนอง 1% ของมูลค่าจำนอง 
  • ค่าอื่นๆ เช่น ค่าคำขอ 20บาท ค่าอากรตาม ป.37 5 บาท ค่าพยาน 20บาท

ค่าธรรมเนียมการโอน:

1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ( หัก ณ ที่จ่าย ) = ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากร
2. ค่าธรรมเนียมการทำนิติกรรม ( ค่าโอน ) = 2 % จากราคาประเมินของกรม
3. ค่าจดจำนอง ( กรณีจำนองกับสถาบันการเงิน ) = 1% ของมูลค่าที่จำนอง (จำนวนที่กู้ทั้งหมด)
4. ค่าอากรแสตมป์ (ชำระอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่าง อากรแสตมป์ หรือธุรกิจเฉพาะ) = 0.50% ตามราคาซื้อขายแต่ ไม่ต่ำกว่าราคาประเมินของกรม
5. ภาษีธุรกิจเฉพาะ ( ไม่ต้องชำระหากถือครองเกิน 5 ปี หรือมีชื่อในทะเบียนบ้านเกินหนึ่งปี) = 3.3% ของราคาซื้อขายที่ไม่ต่ำกว่าราคาประเมินของกรม

โดยทั่วไปค่าภาษีเงินได้ ผู้ขายควรเป็นผู้ออก ส่วนค่าจดจำนอง ผู้ซื้อควรเป็นผู้ออก ส่วนค่าธรรมเนียมส่วนอื่น แล้วแต่ตกลงกันว่าใครจะออกเท่าใด (จะออกคนละครึ่งหรือฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดออกทั้งหมด) แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นไม่ได้มีกฎตายตัวว่าใครต้องออกส่วนใดบ้าง ขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย เช่น ผู้ขายบางรายอาจให้ผู้ซื้อออกค่าโอนและค่าภาษีทุกอย่าง หรือผู้ขายบางรายอาจเป็นคนออกทั้งหมด (โดยที่ผู้ขายได้บวกค่าโอนต่างๆ เหล่านี้ไปในราคาขายแล้ว)
ทั้งนี้ผู้ซื้อและผู้ขายควรตกลงเรื่องค่าธรรมเนียมการโอนต่างๆ ก่อนทำการตกลงซื้อขายหรือก่อนทำสัญญาจะซื้อจะขาย เพราะอาจมีการโต้เถึยงเกิดขึ้นได้ในวันโอน ทางที่ดีควรรวมรายละเอียดค่าธรรมเนียมการโอนไว้ในสัญญาจะซื้อจะขายด้วยเพื่อป้องกันการโต้เถียงกันภายหลัง
ผู้ซื้อบ้านจากโครงการ ก็ควรอ่านรายละเอียดในสัญญาจะซื้อจะขายส่วนเรื่องค่าธรรมเนียมการโอนให้ละเอียด บางโครงการที่ไม่ค่อยรับผิดชอบ มักปัดภาระมาให้ผู้ซื้อออกค่าใช้จ่ายในการโอนทั้งหมด ซึ่งดูไม่ค่อยจะยุติธรรมสำหรับผู้ซื้อเท่าไหร่


กระทู้ถามตอบข้อสงสัย

- ค่าธรรมเนียมการโอน 2% ของราคาประเมิน
- ค่าอากรแสตมป์ ถือครองเกิน 5 ปีคิด 0.5% ของราคาที่สูงกว่า แต่ถ้าไม่ถึง 5 ปีจะไม่คิด ให้ไปเสียภาษีธุรกิจเฉพาะแทน
- ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ คิดเฉพาะถือครองไม่ถึง 5 ปี คิดที่ 3.3% ของราคาที่สูงกว่า ถ้าเสียตรงนี้ก็ไม่ต้องเสียอากรแสตมป์
- ภาษีเงินได้ของผู้ขาย คิดตามปี ต้องไปดูรายละเอียดการคำนวนต่างหาก
- ค่าจดจำนอง 1% ของวงเงินจำนอง

คือ ต้องแยกรายละเอียดก่อนว่าค่าอะไร บางอันคิดจากราคาประเมิน บางอันคิดจากราคาสูงสุดระหว่างราคาประเมินหรือราคาซื้อขาย ทำนองนี้

ค่าธรรมเนียมการโอนก็คิดจาก ยอดเงินซื้อขายครับ แต่.....
แต่มันมีพวกหัวใสครับ แจ้งยอดซื้อขายถูกๆ หรือไม่ก็แจ้งว่าโอนให้เฉยๆไม่คิดเงิน มันเลยต้องมีราคากลางขึ้นมาครับ เพื่อป้องกันว่า ไม่ว่าจะยังไงก็ตาม รัฐจะต้องเก็บค่าธรรมเนียมได้ไม่ต่ำกว่าราคากลาง(ราคากลางก็คือราคาประเมิน)

ตามปกติที่ถูกต้องตามกฏหมาย เจ้าหน้าที่ที่ดินจะต้องสอบถามราคาซื้อขายครับ และเทียบกับราคาประเมิน ถ้าตัวไหนสูงกว่าให้เอาราคาตัวนั้นมาคิดค่าธรรมเนียมครับ
แต่ในทางปฏิบัติจริง เวลาโอนมักจะซิกแซกกันเป็นโอนในราคาประเมินไปเลย(เพราะเป็นราคาต่ำสุด ต่ำกว่านี้ไม่ได้แล้ว) เพื่อจะได้เลี่ยงเสียค่าโอนกันถูกๆครับ


ดิชั้นและพี่สาวต้องการขายที่สองแปลงค่ะ แต่คิดราคาค่าโอนไม่เป็นรบกวนผู้รู้ช่วยชีแนะด้วยนะคะ หรือจะสอนวิธีคิดให้ก็ได้ค่ะ ขอบคุณมากค่ะ เขียนเมื่อ: 26 ม.ค. 55
 1.ที่ดินจำนวน 163 ตร.ว
ราคาประเมินอยู่ที่ ตร.ว ละ 34,000 - ขายในราคา 5,542,000  - เป็นที่รับมรดกมา ประมาณ 14 ปีแล้ว  - เป็นที่ดินเปล่าไม่มีสิ่งปลูกสร้าง
 2.ที่ดินจำนวน 213 ตร.ว
ราคาประเมินอยู่ที่ ตร.ว ละ 34,000 - ขายในราคา 7,242,000  - เป็นที่รับมรดกมา ประมาณ 14 ปีแล้ว เป็นที่ดินเปล่าไม่มีสิ่งปลูกสร้าง

ความคิดเห็นที่ 1
เอาราคาประเมิน หารด้วย ๒ เหลือเท่าไรแล้ว เอาจำนวนปีที่ถือครองหารอีก ถ้าถือครองเกิน ๑๐ ปีให้เอา ๑๐ หาร จากนั้นคิดภาษีตามขั้นของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ได้จำนวนเท่าไรแล้ว
ก็เอาจำนวนปีที่ถือครองคูณกลับเข้าไป (เกิน ๑๐ ปี เอา ๑๐ คูณ)
เช่น ราคาประเมิน ๑ ล้าน หาร ๒ จะได้ ๕๐๐,๐๐๐ บ.
เอา ๕ แสน หานด้วย ๑๐ ปี จะเหลือ ๕๐,๐๐๐ บ.
เอา ๕ หมื่นคูณด้วย ๕% (อัตราภาษีที่ไม่เกิน ๑ แสนจะเสียอยู่ที่ ๕%) จะได้ ๒,๕๐๐ บ.
เอา ๒,๕๐๐ บ.คูณด้วย ๑๐ จะได้ ๒๕,๐๐๐ บ.
ดังนั้นภาษีที่เสียจะเท่ากับ ๒๕,๐๐๐ บ. ครับ
ทั้งนี้ไม่รวมค่าธรรมเนียมอีกร้อยละ ๒ จากราคาประเมิน เช่นราคา ๑ ล้านก็เสียค่าโอน ๒๐,๐๐๐ บ.

ความคิดเห็นที่ 2
แปลงที่ ๑ ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย ๒๒๗,๑๐๐ บาท  อากรแสตมป์ ๒๗,๗๑๐ บาท
ค่าธรรมเนียมการโอน ๑๑๐,๘๔๐ บาท  เบ็ดเตล็ดไม่เกิน ๑๐๐ บาท

แปลงที่ ๒ ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย ๓๑๒,๑๐๐ บาท  อากรแสตมป์ ๓๖,๒๑๐ บาท
ค่าธรรมเนียมการโอน ๑๔๔,๘๔๐ บาท เบ็ดเตล็ดไม่เกิน ๑๐๐ บาท

โปรแกรมช่วยคิด  http://rdsrv2.rd.go.th/landwht/formcal2.asp













เช็คราคาประเมินที่ดินจากกรมธนารักษ์

ตรวจสอบแผนที่แปลงที่ดินโดยกรมที่ดิน ต้องพิมพ์เลขโฉนดที่ดิน

สอบถามราคาประเมินที่ดิน2556บ้านป้าตุ๋ย

แผนที่ซอยพระสิทธิ์บ้านป้าตุ๋ย

แผนที่รถไฟฟ้าสีเขียวเข้มลำลูกกา
















บทความแนวทางการออกแบบบ้านรับภัยน้ำท่วม











รหัสแบบบ้าน : BP17 
ราคาแบบบ้าน : 2,900 บาท (สั่งซื้อแบบบ้านคลิ๊กที่นี่)
ขนาดตัวบ้าน : กว้าง 8 เมตร ลึก 11 เมตร
พื้นที่ใช้สอย : พื้นที่ใช้สอยประมาณ 90 ตร.ม
จำนวนห้อง : 2 ห้องนอน 2 ห้องน้ำ 1 ห้องรับแขก ห้องครัว ห้องทานข้าว มีระเบียงหน้าบ้าน ห้องพระ ห้องละหมาด
งบประมาณก่อสร้าง : เริ่มต้นประมาณ 9 แสนาท  ขึ้นอยู่กับวัสดุก่อสร้างที่เลือกใช้และค่าแรงในแต่ละพื้นที่ รวมถึงกำไรที่ผู้รับเหมาคิด
เว็บไซต์รายละเอียดแบบบ้านBP16 : http://www.banpatan.com/narrowwidthhouseplan




การวางตำแหน่งบ้าน
  1.  ขนาดบ้านเต็มพื้นที่  รู้สึกอึดอัด ปูกระเบื้องทั้งหลัง จึงไม่มีดินที่เป็นธรรมชาติเลย
  2.ชิดหน้าบ้าน 1

















ชิดหน้าบ้าน 2












3. ช่องว่างด้านข้าง















4. ที่ว่างหน้าบ้าน


















5. ขาย 2.9 ล้าน   
บ้านฟ้ากรีนพาร์ค ลำลูกกาคลอง 2


















แบบบ้านใต้ถุนสูง BP08















แบบบ้านใต้ถุนสูง BP08 นำไปสร้างจริงที จ.สุราษฎร์ธานี 


แบบบ้านยกใต้ถุนสูงทรงไทยประยุกต์ BP08 นำไปสร้างจริงอีกหลังที่ จ.ลพบุรี



แบบบ้านใต้ถุนสูงที่ลาว


 น้ำท่วมดีกว่าน้ำแล้ง9 12 54 

บ้านสู้น้ำ13 1 55



ข่าวคนที่อยู่บ้านใต้สูง เมื่อเจอน้ำท่วม  รอดได้ 


อยู่กับน้ำ



ระบบตรวจวัดระดับน้ำในคลองหลัก  ส่วนใหญ่เป็นกรุงเทพฯ








แบบบ้านอยุธยาบ้านสู้ภัยน้ำท่วม งบ 2 สร้าง 2 ล้าน


เมืองสู้น้ำ6-1-55



เช่าในเมืองแล้วซื้อบ้านชานเมือง


ทำเลอสังหาริมทรัพย์หลังน้ำท่วม




วิเคราะห์แวดวงอสังหาริมทรัพย์ โดย อ มานพ ตอนที่ 1,2,3,4

ค่าโอน


เขตปกครองพิเศษ  เขตเศรษฐกิจพิเศษ เช่น เมืองเซินเจิ้น แม่สอด มาบตาพุดแหลมฉบัง  สมุย อยุทธยา 


ผังเมิอง


แรงงานก่อสร้างเขมร


บ้านและที่ดินไทย 56-01-10

เนปาล






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น