ปลาดุกย่าง 36 ตัวอย่าง พบปนเปื้อนร้อยละ 81 ปริมาณสารที่พบอยู่ที่ 0.5-3.2 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม
- ไก่ย่าง 35 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนร้อยละ 31 ปริมาณสารดังกล่าวที่พบอยู่ ที่ 0.5-0.7 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม
- หมูปิ้ง 30 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนร้อยละ 40 ปริมาณสารที่พบอยู่ที่ 0.3-1.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม
ควรตัดแต่งอาหารส่วนที่ไหม ้เกรียมออกส่วนผู้บริโภคควร หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารปิ ้งย่างที่ไหม้เกรียมและอย่า บริโภคอาหารประเภทเดิมซ้ำๆค วรบริโภคอาหารหลากหลายและมี ประโยชน์ต่อสุขภาพของตนเองแ ละในกรณีกินปลาดุกย่างซึ่งพ บสารเบนโซเอไพรีนมากกว่าอาห ารปิ้งย่างอีก 2 ชนิด ก็ควรลอกหนังออกและทานแต่เน ื้อก็สามารถลดความเสี่ยงจาก การได้รับสารเบนโซเอไพรีนที ่อยู่บนหนังที่ไหม้เกรียมได ้
ที่มา...กรมวิทยาศาสตร์การแ พทย์
- ไก่ย่าง 35 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนร้อยละ 31 ปริมาณสารดังกล่าวที่พบอยู่
- หมูปิ้ง 30 ตัวอย่าง พบการปนเปื้อนร้อยละ 40 ปริมาณสารที่พบอยู่ที่ 0.3-1.3 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม
ควรตัดแต่งอาหารส่วนที่ไหม
ที่มา...กรมวิทยาศาสตร์การแ